Line Official: @applychinau มี@ด้านหน้า
ทุนเรียนต่อจีน โทร 094-217-4226
บริษัท ไชน่ายู จำกัด: สุขุมวิท 77 (BTS Onnut)
ไชน่ายูรับสมัคร ทุนเรียนต่อจีน100% ทุนเรียนภาษาจีน ทุนรัฐบาลจีน ทุนCSC ทุนCIS ทุนมหาลัยจีน ซัมเมอร์แคมป์จีน ฟรีค่าเรียน ค่าที่พัก ค่าขนม ตั้งแต่ปี 2008
เรียนต่อปริญญาโท ภาคจีน/อินเตอร์ ที่ Beijing Foreign Studies University (BFSU)
Beijing Foreign Studies University (BFSU) มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่ง(ใช้ชื่อย่อว่า BFSU)ตั้งอยู่ที่ถนนซีซันหวนเป่ยลู่ เขตไห่เตี้ยนของกรุงปักกิ่ง มีสองวิทยาเขตคือวิทยาเขตตะวันออกกับวิทยาเขตตะวันตกตั้งอยู่สองฟากถนนวงแหวนรอบที่สาม เป็นมหาวิยาลัยสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และได้อยู่ใน“โครงการ 211”、“โครงการ 985”ซึ่งเป็นโครงการการสร้างสรรค์มหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศจีนของรัฐบาล นอกจากนี้ ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ในโครงการการสร้างมหาวิทยาลัยชั้นนำและวิชาชั้นนำระดับโลก
BFSUเป็นสถาบันอุดมศึกษาสอนภาษาต่างประเทศแห่งแรกที่สถาปนาขึ้นโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน แต่เดิมเป็นคณะภาษารัสเซีย วิทยาเขตที่สามของมหาวิทยาลัยการเมืองและการทหารเพื่อต่อต้านญี่ปุ่นแห่งประเทศจีน ซึ่งสถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1941 ณ เมืองเอี๋ยนอาน ต่อมาพัฒนาเป็นสถาบันการศึกษาภาษาต่างประเทศเอี๋ยนอาน ซึ่งสังกัดคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน หลังการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน มหาวิทยาลัยจึงสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ในปีค.ศ.1954 เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่ง ในปีค.ศ.1959 มีวิทยาลัยภาษารัสเซียรวมเข้าด้วยกันจึงสถาปนาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่งแห่งใหม่ นับตั้งแต่ปีค.ศ.1980 สถาบันสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปีค.ศ.1994 เปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่งอย่างเป็นทางการ
Location: เมือง BEIJING
▶ จุดเด่น: มหาลัยดัง ตั้งอยู่ใน เมืองปักกิ่ง ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศจีน
▶ เงื่อนไขทุน: ทุน CSC ฟรีค่าเทอม ค่าที่พัก ค่าครองชีพ
ป.โท ภาคจีน - Finance HSK 6 180 ขึ้นไป
ป.โท ภาคอินเตอร์ - International Businessรับ IELTS 6.5 ขึ้นไป
(ห้ามสอบได้ต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่มหาวิทยาลัยกำหนด)
▶ ค่าหอพัก: ฟรี หรือ ตามทุนที่ได้รับ
▶ คณะที่แนะนำ: Finance , International Business
▶ Website: https://global.bfsu.edu.cn/th/
▶ Introduction of Beijing Foreign Studies University (BFSU)
Beijing Foreign Studies University, or BFSU, is one of China’s top universities under the direct administration of the Chinese Ministry of Education (MOE). It is listed under Project 985, Project 211 and the Double First-Class Project of China. Located in Haidian District, Beijing, BFSU has two campuses which are separated by North Xisanhuan Road -- the West Campus and the East Campus.
In 1941, the Russian Language Team in the Third Branch of the Chinese People’s Anti-Japanese Military and Political College was set up. It was later renamed the Foreign Languages School of the Central Military Commission under the direct leadership of the Central Committee of the Communist Party of China. After the founding of the People’s Republic of China, the School was administered by the Ministry of Foreign Affairs. It was renamed as the Beijing Foreign Languages Institute in 1954 and merged with the Beijing Russian Institute in 1959. Since 1980, the Institute has been directly administered by the MOE. In 1994, it took on its current name, Beijing Foreign Studies University.
Today, BFSU teaches 101 foreign languages. It houses China's largest non-general language teaching cluster that offers courses in some less commonly taught European, Asian and African languages, as the first of MOE's special teaching programs. While best known for its excellence in foreign languages and literature, BFSU has also launched programs in fields such as humanities, law, economics, management and education. It now offers courses in languages including (in chronological order) Russian, English, French, German, Spanish, Polish, Czech, Romanian, Japanese, Arabic, Cambodian, Lao, Singhalese, Malay, Swedish, Portuguese, Hungarian, Albanian, Bulgarian, Swahili, Burmese, Indonesian, Italian, Croatian, Serbian, Hausa, Vietnamese, Thai, Turkish, Korean, Slovak, Finnish, Ukrainian, Dutch, Norwegian, Icelandic, Danish, Greek, Filipino, Hindi, Urdu, Hebrew, Persian, Slovenian, Estonian, Latvian, Lithuanian, Irish, Maltese, Bengali, Kazakh, Uzbek, Latin, Zulu, Kyrgyz, Pashtu, Sanskrit, Pali, Amharic, Nepalese, Somali, Tamil, Turkmen, Català, Yoruba, Mongolian, Armenian, Malagasy, Georgian, Azerbaijani, Afrikaans, Macedonian, Tajiki, Tswana, Ndebele, Comorian, Creole, Shona, Tigrinya, Belarusian, Maori, Tangan, Samoan, Kurdish, Bislama, Dari, Tetum, Dhivehi, Fijian, Cook Islands Maori, Kirundi, Luxembourgish, Kinyarwanda, Niuean, Tok Pisin, Chewa, Sesotho, Sango, Tamazight, Javanese, and Punjabi. To better serve China’s diplomatic efforts, it now teaches all the official languages of countries in diplomatic relations with China.